วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

โครงสร้างโปรแกรมของภาษาต่อไปนี้


โครงสร้างของโปรแกรม

1. โปรแกรมปาสคาล
โปรแกรมในภาษาปาสคาล แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ

1. ส่วนหัว (Heading) เป็นการประกาศชื่อของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วยคำว่า PROGRAM ตามด้วยชื่อของโปรแกรม และจบบรรทัดด้วย ; รูปแบบ PROGRAM ชื่อโปรแกรม (รายชื่ออุปกรณ์); ตัวอย่าง PROGRAM EXAM1; PROGRAM EXAM1(INPUT,OUTPUT); ข้อสังเกต ชื่ออุปกรณ์ คือ INPUT, OUTPUT หรือชื่อของไฟล์ที่เกี่ยวข้องภายในโปรแกรมถ้าไม่ระบุจะถือว่า INPUT เข้าทาง keyboard และ OUTPUT ออกทางจอภาพ 2. ส่วนข้อกำหนด (Declaration part) คือส่วนตั้งแต่ส่วนหัวไปจนถึงคำว่า BEGIN ของโปรแกรมหลัก และเป็นส่วนที่เรากำหนดค่าต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 VAR เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลให้แก่ตัวแปร รูปแบบ VAR รายชื่อตัวแปร : ประเภทของข้อมูล; ตัวอย่าง VAR I,J,K : INTEGER; NAME : STRING; SALARY : REAL; 2.2 TYPE เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลขึ้นใหม่ รูปแบบ TYPE ชื่อของแบบ = ประเภทหรือค่าของข้อมูล; ตัวอย่าง TYPE SCORE = INTEGER; WEEK = (MON, TUE, WED, THU, FRI); VAR TEST, MIDTERM, FINAL : SCORE; DAY : WEEK;
จากตัวอย่างต้องประกาศชื่อแบบของตัวแปรก่อนแล้วจึงประกาศชื่อตัวแปรที่เป็นแบบ 2.3 CONST เป็นการกำหนดค่าคงที่ รูปแบบที่ 1 CONST รายชื่อค่าคงที่ = ค่าที่กำหนด; รูปแบบที่ 2 CONST รายชื่อค่าคงที่ : ประเภทของข้อมูล = ค่าที่กำหนด; ตัวอย่าง CONST HEAD = ‘EXAMINATION’; CONST A = 15; CONST SALARY : REAL = 8000.00; 2.4 LABEL ใช้คู่กับคำสั่ง GOTO ภายในโปรแกรม รูปแบบ LABEL รายชื่อของ LABEL; ตัวอย่าง LABEL 256,XXX; เช่น GOTO 256; GOTO XXX; 3. ส่วนคำสั่งต่าง ๆ (Statement Part) เป็นส่วนสุดท้ายของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วย “BEGIN” และปิดท้ายด้วย “END.” ตัวอย่าง BEGIN Statement หรือคำสั่งต่าง ๆ ; END.

2. โปรแกรมภาษา C

โครงสร้างของภาษา C ทุกโปรแกรมของภาษา C มีโครงสร้างเป็นลักษณะ ดังรูป

3. Basic

โดรงสร้างในการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic • การประกาศตัวแปร o แบบ Implicit o แบบ Explicit • กฎการตั้งชื่อตัวแปรและค่าคงที่ o การตั้งชื่อคอนโทรลและอ๊อบเจ็กต์ ตามคำแนะนำของไมโครซอฟท์ • ชนิดของข้อมูล • การใช้งานตัวแปรแบบใช้สัญลักษณ์พิเศษกำกับ • ขอบเขตของตัวแปร o ตัวแปรแบบ Local o ตัวแปรแบบ Public • การใช้งานตัวแปรร่วมระดับโพรซีเดอร์ • การตั้งชื่อตัวแปรแบบบอกชนิดและขอบเขต • ตัวแปรอาร์เรย์ o แบบสแตติก o แบบไดนามิก • การสร้างตัวแปรอาร์เรย์มากกว่า 1 มิติ • การใช้งานคอนโทรลอาร์เรย์ • การสร้างชนิดของข้อมูลขึ้นใช้เอง • การประกาศค่าคงที่ • ตัวดำเนินการใน Visual Basic 6.0 o ด้านคณิตศาสตร์ o ด้านตรรกะ o ด้านการเปรียบเทียบ o ด้านเชื่อมข้อความ

4. Assembly

โปรแกรม จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ ซึ่งอยู่ในรูปแบบของเลขไบนารี่ที่เรียกว่าภาษา Machine ซึ่งเป็นภาษาที่สามารถ ติดต่อให้คอมพิวเตอร์ เข้าใจได้ ภาษา Machine นี้จะจัดให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นเลขฐานสิบหก (HEX) เช่น คำสั่ง 8 บิต 11101011B (B-ไบนารี่) เขียนได้เป็น 0EBH(H-ฐานสิบหก) แต่ก็เป็นการที่จะเข้าใจความหมาย ได้ยากในการใช้งาน การที่จะทำความเข้าใจภาษา Machine จะมีการใช้สัญลักษณ์ (Symbols) ที่เรียกว่า Mnemonics เพื่อแทนความหมายของคำสั่ง เช่น MOV A,#67H หมายความว่านำข้อมูลค่าคงที่ 67H ไปเก็บไว้ใน reg. A) โปรแกรมที่เขียนด้วยรหัส Mnemonics เรียกว่า ภาษา Assembly และก่อนที่จะให้ CPU ทำงานตามโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Assembly ได้ แต่ต้องเปลี่ยนให้เป็นภาษา Machine ก่อน โดยใช้ โปรแกรมแอสเซมเบลอ

5. Java

โครงสร้างโปรแกรมภาษาจาวา
public class ชื่อคลาส { public static void main(String[] agrs) { ประโยคคำสั่งต่างๆ ของโปรแกรม; ..................................................; } }
ตัวอย่างโปรแกรมภาษาจาวา ไฟล์ Example.java class Example { public static void main(String[] args) { String dataname = “Java Language“; System.out.println(“My name is OAK“); System.out.println(“OAK is a “ + dataname +“. “); } } หมายเหตุ Compile : javac Example.java จะได้ไฟล์ Example.class Run : java Example Output : My name is OAK OAK is a Java Language
คำอธิบาย - method main( ) จะเป็น method หลักที่ใช้ในการ run program ดังนั้นการกระทำต่าง ๆ ที่ต้องการให้เกิดขึ้น ในการ run program จะต้องทำการเขียนคำสั่งไว้ใน method นี้ - การแสดงผลทางจอภาพ (Console Output) ใช้ method ชื่อ "println" ซึ่งอยู่ใน System.outคำสั่งนี้จะรับข้อมูลที่เป็น String เพื่อนำมาแสดงผลทางจอภาพ

6. Cobol

ภาษาโคบอล (COBOL programming language) เป็นภาษาโปรแกรมระดับสูงภาษาหนึ่งที่อยู่มาอย่างยาวนาน COBOL ย่อมาจาก Common Business Oriented Language เป็นภาษาที่นิยมนำไปใช้ทางธุรกิจ ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1959 โดยนักคอมพิวเตอร์กลุ่มหนึ่งที่เรียกตัวเองว่า Conference on Data Systems Languages (CODASYL) และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1959 ภาษาโคบอลมีการแก้ไขและปรับปรุงอยู่ตลอด ดังนั้น เพื่อขจัดปัญหาความแตกต่างของตัวภาษาโคบอลในแต่ละเวอร์ชัน สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกัน (ANSI) จึงได้พัฒนามาตรฐานกลางขึ้นมาในปี ค.ศ. 1968 เป็นที่รู้จักกันในนามของ ANS COBOL ต่อมาเมื่อ ปี ค.ศ. 1974 ทาง ANSI ได้นำเสนอ ANS COBOL รุ่นใหม่ที่มีคุณสมบัติที่ดีกว่ารุ่น 1968 และในปี ค.ศ. 1985 ANSI ก็นำเสนออีกรุ่นหนึ่งที่มีคุณสมบัติมากกว่ารุ่นปี 1974 รูปแบบภาษาโคบอลแบ่งออกเป็น 4 ดิวิชั่น คือ 1. Identification division การกำหนดชื่อโปรแกรมและชื่อผู้เขียน 2. Environment division การอธิบายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3. Data division การอธิบายเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล 4. Procedure division การอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนการประมวลผล

วันพฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ตารางเลขฐาน


1.      ตารางเลขฐาน


2.      เลขฐานอื่นๆ เป็น 10
2.1.  1111001012  = 48510
2.2.    2FBC16      = (2*163) + (15*162) + (11*161) + (12*160)
                  = 8192 + 3840 + 176 + 12
                  = 1222010
2.3.    2868         = (2*82)  + (8*81) + (6*80)
                  = 128 + 64 + 6
                  = 19810
3.      เลขฐาน 10 เป็นรหัสนักศึกษาสองตัวสุดท้าย
3.1.  032  =  112
3.2.  0316 =  (0*161) + (3*160)
   =   0 + 3
   =   316
3.3.  038  =  (0*81) + (3*80)
   =   0 + 3
   =   38